เทคนิค KWLl

ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)



ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ชื่อรายวิชา  
การจัดการเรียนรู้ และการจัดการในชั้นเรียน  
หมวดวิชา  
วิชาเฉพาะ
ระดับวิชา  
ปริญญาตรี                                         
รหัสวิชา  
๓๑๓๐๐๓๐๖
หน่วยกิต  
(--)                            
ภาคเรียนที่  
/๒๕๖๐
เงื่อนไขรายวิชา  
ไม่มี                    
ประเภทวิชา  
กลุ่มวิชาชีพครู
อาจารย์ผู้สอน  
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา  ธงพานิช



๑. คำอธิบายรายวิชา
       ความหมาย กระบวนการของการออกแบบและการจัดการเรียนรู้   ทฤษฎีการเรียนรู้ และการสอน การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑ สภาพปัจจุบัน และปัญหาที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ในประเทศไทย การวิเคราะห์ผู้เรียน และวิธีที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี การกำหนดจุดประสงค์ของการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้ตามแนวพระราชดำริ การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนร่วม การพัฒนา และเลือกใช้สื่อนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ การวัด และประเมินผลตามสภาพจริงและเทคนิควิทยาการการจัดการเรียนรู้ การจัดทำแผนการเรียนรู้ในระดับต่างๆ

๒. วัตถุประสงค์
          ๑. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และสภาพการออกแบบการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน
          ๒. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการต่างๆ รูปแบบการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
          ๓. เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาที่เรียน และวิชาชีพครู โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
          ๔. เพื่อให้ผู้เรียนบูรณาการเนื้อหาในสาระการเรียนรู้ และการเลือกสื่อนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ และเทคนิควิทยาการจัดการเรียนรู้ การจัดแผนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. เนื้อหาวิชากับเวลาที่กำหนดให้เรียน

สัปดาห์ที่
หัวข้อรายละเอียด
จำนวนชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้
ชื่อผู้สอน
แนะนำรายวิชาและคำอธิบายรายวิชาการจัดการเรียนการสอน
บรรยาย
ผศ.ดร.พิจิตรา
บทที่ ๑ แนวคิดการออกแบบและการจัดการเรียนรู้
. ความต้องการจำเป็นสำหรับการออกแบบและการจัดการเรียนรู้
๑.๒ นิยามการออกแบบและการจัดการเรียนรู้
๑.๓ ประโยชน์ของการออกแบบและการจัดการเรียนรู้
๑.๔ แบบจำลองการออกแบบและการจัดการเรียนรู้ทั่วไป
๑.๕ บทบาทของผู้ออกแบบและการจัดการเรียนรู้
๑.๖ งานและผลผลิตสมรรถภาพของการออกแบบและการจัดการเรียนรู้ สรุป
บรรยาย
อภิปราย
เอกสารประกอบ
การสอน
ผศ.ดร.พิจิตรา
-
บทที่ ๒ วิธีการสอนและเทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๒.๑ วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๒.๒ รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๒.๓ เทคนิควิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๒.๔ การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๒.๕ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บรรยาย
อภิปราย
เอกสารประกอบ
การสอน
ผศ.ดร.พิจิตรา
๕-๖
บทที่ ๓ รูปแบบการเรียนการสอน
๓.๑ รูปแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากล
๓.๒ รูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนการสอนปกติ
๓.๓  กระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน
บรรยาย
อภิปราย
เอกสารประกอบ
การสอน
ผศ.ดร.พิจิตรา
บทที่ ๔ กลยุทธ์การเรียนการสอน
๔.๑ สภาวการณ์เรียนการสอนพื้นฐาน
ของการเรียนการสอน
๔.๒ ความต้องการทฤษฎีการเรียนการสอน
๔.๓ ธรรมชาติของทฤษฎีการเรียนการสอน
๔.๔ ทฤษฎีการเรียนการสอน
๔.๕ หลักการเรียนรู้
๔.๖ การวิจัยการเรียนรู้
๔.๗ ความเข้าใจผู้เรียนและการเรียน
๔.๘ การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
๔.๙ รูปแบบการเรียนรู้และวิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
บรรยาย
อภิปราย
เอกสารประกอบ
การสอน
ผศ.ดร.พิจิตรา
สอบกลางภาค


ผศ.ดร.พิจิตรา
๙-๑๐
บทที่ ๕ การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
๕.๑ ความจำเป็นในการจัดการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปการศึกษา
๕.๒ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามแนวการปฏิรูปการศึกษา
๕.๓การปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
๕.๔ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๕.๕ บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ตามแนวการปฏิรูปการศึกษา
บรรยาย
อภิปราย
เอกสารประกอบ
การสอน
ผศ.ดร.พิจิตรา
๑๑-๑๒
บทที่ ๖ การเลือกและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนและแผนจัดการเรียนรู้
๖.๑ บทบาทของผู้ออกแบบ
๖.๒ ประเภทของสื่อ
๖.๓ การตัดสินใจเกี่ยวกับสื่อ
บรรยาย
อภิปราย
เอกสารประกอบ
การสอน
ผศ.ดร.พิจิตรา
๑๓-๑๕
บทที่ ๗ การวางแผนการเขียนแผนการสอนและแผนจัดการเรียนรู้
๗.๑ ความหมายของการวางแผนการสอน
๗.๒ ความจำเป็นของการวางแผนการสอน
๗.๓ ข้อมูลที่ถูกต้องใช้ในการวางแผนการสอน
๗.๔ แนวทางการวางแผนการสอน
๗.๕ การเขียนแผนจัดการเรียนรู้
๗.๖ แผนจัดการเรียนรู้
๗.๗ การวัดและการประเมินผล
บรรยาย
อภิปราย
เอกสารประกอบ
การสอน
ผศ.ดร.พิจิตรา
๑๖
สอบปลายภาค


ผศ.ดร.พิจิตรา
รวมจำนวนชั่วโมงตลอดภาคการเรียน
๓๐



กิจกรรมการเรียนการสอน
        ๑.ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอนและตำราเกี่ยวกับ วิชาการจัดการเรียนรู้และการจัดการในชั้นเรียน
        ๒.บรรยายและสรุปสาระการเรียนรู้โดยอาจารย์ประจำวิชา
        ๓.อภิปราย วิเคราะห์ วิจารณ์และซักถาม
        ๔.ศึกษาเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
        ๕.ปฏิบัติกิจกรรมรวมกลุ่มและกิจกรรมรายบุคคล
        ๖.ทดสอบปลายภาคเรียน

สื่อการเรียนการสอน
        ๑.เอกสารประกอบการสอน ตำรา สิ่งพิมพ์ต่างๆ
        ๒.วีดีทัศน์เกี่ยวกับการสอนและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
        ๓.กิจกรรมรวมกลุ่ม คำถามท้ายบท
        ๔.สื่อสไลด์ Power Point

๖. เอกสารประกอบการศึกษาค้นคว้า
๑.วิชาการจัดการเรียนรู้และการจัดการในชั้นเรียน

๗. การเตรียมด้านการวัดผล
        ๑.สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน
๑.๑  การเข้าเรียนและความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโดยสม่ำเสมอ
๑.๒  การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
๑.๓  การทำงานกลุ่ม
๑.๔  การร่วมแสดงกิจกรรม
        ๒.การตรวจผลงาน
๒.๑  ตรวจรายงานบุคคล
๒.๒  ตรวจรายงานกลุ่ม
๒.๓  ตรวจคำถามท้ายบทและประเมินผลงาน

๘. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
        ๑.การวัดผล
        ๒.คะแนนรวมระหว่างภาค                                                        ร้อยละ ๗๐
๒.๑  ศึกษาเอกสารและรายงานหน้าชั้น                                          ร้อยละ ๑๐
๒.๒  ประเมินกิจกรรมเทคนิคออกแบบกาจัดการเรียนรู้                   ร้อยละ ๑๐
๒.๓  ประเมินผลจากการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้                      ร้อยละ ๒๐
๒.๔  ความสนใจและเข้าเรียน                                                        ร้อยละ ๑๐
๒.๕  คะแนนสอบกลางภาคเรียน                                                    ร้อยล่ะ ๒๐
        ๓.คะแนนสอบปลายภาค                                                         ร้อยละ ๓๐
        ๔.ขาดเรียนครบกำหนด 4 ครั้ง ไม่มีสิทธิ์สอบและปรับผลประเมินเป็น F ในรายวิชานี้

๙. เกณฑ์การประเมินผล
ค่าคะแนนที่ได้ (ร้อยละ)
ค่าระดับผลการเรียน
๘๐ ๑๐๐
๗๕ ๗๙
๗๐๗๔
๖๕๖๙
๖๐๖๔
๕๕๕๙
๕๐๕๔
ไม่ส่งงาน / ขาดสอบ
A
B+
B
C+
C
D+
D
I

๑๐ติดต่อกับอาจารย์ผู้สอนได้ในเวลาที่มหาวิทยาลัยเปิดทำการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา ธงพานิช  E-mail : jeab1107@hotmail.com
ชั้น 3 ห้องสาขาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
         

ความคิดเห็น

บทความที่ได้รับความนิยม